|
วัคซีนมะเร็ง |
|
|
GcMAF เป็นส่วนประกอบในระบบภูมิคุ้มกันเกิดขึ้นตามธรรมชาติในร่างกายมนุษย์ เป็นโปรตีนที่ผลิตโดยตับ ทำหน้าที่กระตุ้นการทำงานของเซลล์ภูมิคุ้มกันร่างกายแมโครฟาจ สั่งให้ภูมิคุ้มกันทำลายเซลล์มะเร็งและเชื้อโรคจากนอกร่างกาย ซึ่งทำให้เกิดโรคร้ายแรงต่างๆเช่น มะเร็ง, เอดส์, ไวรัสตับ ช่วยจัดระบบการทำงานของภูมิคุ้มกันใหม่ เพื่อรับมือกับโรคเหล่านี้ที่ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของเราไม่ทำงานตามที่ควรจะเป็น
สกัดจากสารชีวภาพในห้องปฏิบัติการระดับเซลล์ ( Cell Processing Center ) ทำให้ได้ยากระตุ้นภูมิคุณภาพสูง การให้ตัวยาทำได้โดยการฉีดเข้ากล้ามหรือรอบสะดือ หนึ่งหรือสองสัปดาห์ครั้ง การกระตุ้นนี้ใช้เวลาเป็นหลายสัปดาห์ ก่อนที่ภูมิคุ้มกันร่างกายจะแข็งแรงและเริ่มทำลายล้างเซลล์มะเร็ง และเชื้อโรคอื่นๆในร่างกาย
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
Clean clothes
|
|
|
Security doors
|
|
|
Microscope work
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|

|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Carbon dioxide incubator
|
|
|
Centrifuge
|
|
|
Sterile cabinet
|
|
|
|
|
แมคโครฟาจคืออะไร
|
|
|
แมคโครฟาจเป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่งในร่างกายมนุษย์ เป็นด่านแรกในการป้องกันร่างกาย จากการบุกรุกของเชื้อโรคภายนอก ทำงานโดยการกลืนกินย่อยทำลายสิ่งแปลกปลอมแล้วผลิตแอนติเจ้นท์ส่งออกไปทำให้ภูมิคุ้มกันรู้จักสามารถแยกแยะเซลล์มะเร็งออกจากเซลล์ปกติได้ และเริ่มกระบวนการทำลายล้างเซลล์มะเร็งอย่างเป็นระบบ
|
|
|
|
|
|
การทำงานของแมโครฟาจ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
a. กลืนกินเชื้อโรคแปลกปลอม
b. ย่อยสลายเชื้อแปลกปลอมด้วยเอนไซม์
c. เศษซากจากการย่อยสลายกลายเป็นแอนติเจนท์ส่งออกไปทำให้ภูมิคุ้มกันรู้จักเซลล์แปลกปลอมโดยอัตโนมัติ
|
|
|
|
|
|
เราตรวจสอบการทำงานของ GcMAF อย่างไร
|
|
|
การตรวจประสิทธิภาพการทำงานของ GcMAF ทำได้โดยการใส่แมคโรฟาจของหนูลงในเซลล์เม็ดเลือดแดงของแกะ Macrophage ที่ถูกกระตุ้นโดยGcMAF จะกลืนกินและย่อยทำลายเซลล์เม็ดเลือดแดง จำนวนเซลล์ที่ทำลายได้จะถูกวัดออกมาเป็นค่าที่เรียกว่า Phagocytosis (ingestion) Index (PI)
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เป้าหมายในการใช้ GcMAF บําบัดโรค
|
|
|
การกระตุ้นงานทำงานของแมโครฟาจ โดย GcMAF มีประโยชน์ใช้ร่วมในการรักษาโรคได้หลายโรค
เช่น มะเร็ง, เอดส์, ไวรัสตับอักเสบบี(HBV), ไวรัสตับอักเสบซี (HCV) , ไวรัสเริม ( HSV) , ปอดอักเสบติดเชื้อ, วัณโรค, ไวรัส Epstein Barr , cystitis/urinary tract infection (UTI), Endometriosis, Selective IgA deficiency disorder and influenza virus.
|
|
|
|
|
|
การรักษาร่วมกับวิธีรักษาอื่น
|
|
|
- GcMAF สามารถใช้ร่วมกับการรักษาวิธีอื่นๆได้
- จากผลการวิจัยพบว่าสามารถลดการแพร่กระจายของมะเร็งและลดขนาดของก้อนเนื้อลง
|
|
|
|
|
|
สิ่งที่ควรพิจารณา
|
|
|
- การใช้ร่วมกับยาสเตียรอยด์ซึ่งมีฤทธิ์กดภูมิคุ้มกันจะให้ทำประสิทธิภาพของการรักษาลดลง
|
|
|
|
|
|
การให้ยา
|
|
|
การให้ยาทำได้โดยการฉีดตัวยาเข้ากล้ามเนื้อหรือรอบสะดือ 1-2 สัปดาห์ครั้ง ตามการวินิจฉัยของแพทย์
|
|
|
|
|